แนวทางการบริหารงบประมาณ คณะครุศาสตร์

ข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 18/04/2022 เวลา 00:56 น.



 

แนวทางการบริหารงบประมาณ สำหรับผู้รับผิดชอบโครงการตามยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น
พร้อมระบบการให้คำปรึกษาผ่านเครือข่ายออนไลน์ เป็นการพัฒนานวัตกรรมเพื่อสนับสนุนให้บุคลากรได้เข้าถึงข้อมูลที่จำเป็น มีความถูกต้อง และรวดเร็ว
ต่อการบริหารงบประมาณของบุคลากรภายในคณะครุศาสตร์ อีกทั้งยังเป็นการช่วยลดขั้นตอนการดำเนินงานในการจัดทำโครงการที่เกี่ยวข้อง
ซึ่งมีการนำข้อมูลที่จำเป็นมาผ่านระบบการให้คำปรึกษาผ่านเครือข่ายออนไลน์ ซึ่งประกอบด้วยข้อมูลจำแนกหัวข้อได้ ดังนี้

  • ยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ระยะ 20 ปี พ.ศ. 2560 – 2579
  • ขั้นตอนการเบิกจ่ายเงินงบประมาณโครงการยุทธศาสตร์
  • การขออนุมัติโครงการและข้อควรระวังในการดำเนินงานโครงการ
  • การจำแนกหมวดรายจ่ายสำหรับดำเนินกิจกรรมโครงการ
  • การใช้จ่ายงบประมาณโครงการจำแนกหมวดรายจ่ายสำหรับดำเนินกิจกรรมโครงการ
  • หมวดค่าตอบแทน
  • หมวดค่าใช้สอย
  • หมวดค่าวัสดุ
  • กฎหมาย ระเบียบ และหลักเกณฑ์
  • แบบฟอร์มที่เกี่ยวข้อง

ยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ระยะ 20 ปี พ.ศ. 2560 – 2579

พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 มาตรา 7 ระบุว่าให้มหาวิทยาลัยเป็นสถาบันอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นที่เสริมสร้างพลังปัญญาของแผ่นดิน ฟื้นฟูพลังการเรียนรู้ เชิดชูภูมิปัญญาของท้องถิ่น สร้างสรรค์ศิลปวิทยาเพื่อความเจริญก้าวหน้าอย่างมั่นคงและยั่งยืนของปวงชนมีส่วนร่วมในการจัดการการบำรุงรักษาการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลและยั่งยืน โดยมีวัตถุประสงค์ให้การศึกษาส่งเสริมวิชาการและวิชาชีพชั้นสูง ทำการสอน วิจัย ให้บริการทางวิชาการแก่สังคม ปรับปรุงถ่ายทอดและพัฒนาเทคโนโลยี ทะนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมผลิตครูและส่งเสริมวิทยฐานะครู และมาตรา 8 ได้กำหนดแนวทางการดำเนินงานเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามมาตรา 7 ดังต่อไปนี้

(1) แสวงหาความจริงเพื่อความเป็นเลิศทางวิชาการบนพื้นฐานของภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย และภูมิปัญญาสากล
(2) ผลิตบัณฑิตที่มีความรู้คู่คุณธรรม สำนึกในความเป็นไทย มีความรักและผูกพันต่อท้องถิ่น อีกทั้งส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตในชุมชน เพื่อช่วยให้คนในท้องถิ่นรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง การผลิตบัณฑิตดังกล่าวจะต้องให้มีจำนวนและคุณภาพสอดคล้องกับแผนการผลิต บัณฑิตของประเทศ
(3) เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในคุณค่าความสำนึกและความภูมิใจในวัฒนธรรมของท้องถิ่นและของชาติ
(4) เรียนรู้และเสริมสร้างความเข้มแข็งของผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนาและนักการเมือง ท้องถิ่นให้มีจิตสำนึกประชาธิปไตยคุณธรรม จริยธรรม และความสามารถในการบริหารงานพัฒนาชุมชนและท้องถิ่นเพื่อประโยชน์ของส่วนรวม
(5) เสริมสร้างความเขhมแข็งของวิชาชีพครูผลิตและพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีคุณภาพและมาตรฐานที่เหมาะสมกับการเป็นวิชาชีพชั้นสูง (6)ประสานความร่วมมือและช่วยเหลือเกื้อกูลกันระหวางมหาวิทยาลัย ชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและองค์กรอื่นทั้งในและต่างประเทศเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น
(7) ศึกษาและแสวงหาแนวทางพัฒนาเทคโนโลยีพื้นบ้านและเทคโนโลยีสมัยใหม่ให้เหมาะสมกับการดำรงชีวิตและการประกอบอาชีพของคนในท้องถิ่น รวมถึงการแสวงหาแนวทางเพื่อส่งเสริมให้เกิดการจัดการการบำรุงรักษาและการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลและยั่งยืน
(8) ศึกษาวิจัย ส่งเสริมและสืบสานโครงการอันเนื่องมาจากแนวพระราชดำริในการปฏิบัติภารกิจของมหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น

มหาวิทยาลัยราชภัฏจึงได้น้อมนำพระราโชบายด้านการศึกษาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในการเป็นสถาบันการศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น และบทบาทหน้าที่ของมหาวิทยาลัยราชภัฏตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 โดยจัดทำยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย ราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ระยะ 20 ปี ขึ้น โดยต่อมาได้มีการทบทวนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2560 – 2579) เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 2561 โดยการมีส่วนร่วมของมหาวิทยาลัยราชภัฏทั้ง 38 แห่ง ได้กำหนดวิสัยทัศน์ว่า มหาวิทยาลัยราชภัฏเป็นสถาบันที่ผลิต บัณฑิตที่มีอัตลักษณ์ มีคุณภาพ มีสมรรถนะและเป็นสถาบันหลักที่บูรณาการองค์ความรู้สู่นวัตกรรมในการพัฒนาท้องถิ่นเพื่อสร้างความมั่นคงให้ประเทศ โดยการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) ประกอบด้วย 4 ประเด็นยุทธศาสตร์ ได้แก่

1. การพัฒนาท้องถิ่นสร้างสรรค์ คุณภาพท้องถิ่นและสังคมอย่างยั่งยืนขับเคลื่อน คุณภาพการวิจัย การเรียนการสอน และการพัฒนาชุมชนท้องถิ่นอนุรักษ์ ขนบธรรมเนียมประเพณีและศิลปวัฒนธรรม
2. การผลิตและพัฒนาครู พัฒนาคุณภาพการผลิตและพัฒนาครูที่ได้มาตรฐานวิชาชีพ และมีจิตวิญญาณความเป็นครูที่สอดคล้องกับความต้องการของท้องถิ่น
3. การยกระดับคุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษา คุณภาพอาจารย์คุณภาพบัณฑิต การจัดการเรียนการรู้ สำหรับศตวรรษที่ 21
4. การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการพื้นที่ความรับผิดชอบ ระบบฐานข้อมูล การใช้ทรัพยากรร่วมกัน การพัฒนาเครือข่ายในพื้นที่ และสร้างธรรมาภิบาล

มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ซึ่งได้กำหนดวิสัยทัศน์และยุทธศาสตร์เพื่อการขับเคลื่อนมหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ให้เป็น “มหาวิทยาลัยชั้นนำรับใช้สังคมของภาคตะวันออก เพื่อสร้างนวัตกรรมตามศาสตร์พระราชา” โดยมหาวิทยาลัยได้น้อมนำพระราโชบายด้านการศึกษาในการเป็นสถาบันการศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นเป็นพื้นฐานในการพัฒนายุทธศาสตร์ บนพื้นฐานศักยภาพตามบริบทของมหาวิทยาลัย ซึ่งได้ดำเนินนโยบายการทำงานร่วมกับชุมชน สร้างความร่วมมือกับเครือข่ายในท้องถิ่น โดยการร่วมมือกำหนดประเด็นการแก้ไขปัญหา ในเขตพื้นที่ความรับผิดชอบของมหาวิทยาลัย ที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579)

การดำเนินงานโครงการตามยุทธศาสตร์ราชภัฏพัฒนาท้องถิ่น จะสำเร็จได้ด้วยความร่วมมือจากทุกฝ่ายทั้งภาครัฐและเอกชน โดยยึดเอาประโยชน์ของท้องถิ่น ชุมชน ในการสร้างบัณฑิตจิตอาสาพัฒนาท้องถิ่น และสามารถยกระดับคุณภาพชีวิตให้มีความมั่นคงและยั่งยืนต่อไป

 

ขั้นตอนการเบิกจ่ายเงินงบประมาณโครงการยุทธศาสตร์

พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 มาตรา 7 ระบุว่าให้มหาวิทยาลัยเป็นสถาบันอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นที่เสริมสร้างพลังปัญญาของแผ่นดิน ฟื้นฟูพลังการเรียนรู้ เชิดชูภูมิปัญญาของท้องถิ่น สร้างสรรค์ศิลปวิทยาเพื่อความเจริญก้าวหน้าอย่างมั่นคงและยั่งยืนของปวงชนมีส่วนร่วมในการจัดการการบำรุงรักษาการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลและยั่งยืน โดยมีวัตถุประสงค์ให้การศึกษาส่งเสริมวิชาการและวิชาชีพชั้นสูง ทำการสอน วิจัย ให้บริการทางวิชาการแก่สังคม ปรับปรุงถ่ายทอดและพัฒนาเทคโนโลยี ทะนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมผลิตครูและส่งเสริมวิทยฐานะครู และมาตรา 8 ได้กำหนดแนวทางการดำเนินงานเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามมาตรา 7 ดังต่อไปนี้

(1) แสวงหาความจริงเพื่อความเป็นเลิศทางวิชาการบนพื้นฐานของภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย และภูมิปัญญาสากล
(2) ผลิตบัณฑิตที่มีความรู้คู่คุณธรรม สำนึกในความเป็นไทย มีความรักและผูกพันต่อท้องถิ่น อีกทั้งส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตในชุมชน เพื่อช่วยให้คนในท้องถิ่นรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง การผลิตบัณฑิตดังกล่าวจะต้องให้มีจำนวนและคุณภาพสอดคล้องกับแผนการผลิต บัณฑิตของประเทศ
(3) เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในคุณค่าความสำนึกและความภูมิใจในวัฒนธรรมของท้องถิ่นและของชาติ
(4) เรียนรู้และเสริมสร้างความเข้มแข็งของผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนาและนักการเมือง ท้องถิ่นให้มีจิตสำนึกประชาธิปไตยคุณธรรม จริยธรรม และความสามารถในการบริหารงานพัฒนาชุมชนและท้องถิ่นเพื่อประโยชน์ของส่วนรวม
(5) เสริมสร้างความเขhมแข็งของวิชาชีพครูผลิตและพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีคุณภาพและมาตรฐานที่เหมาะสมกับการเป็นวิชาชีพชั้นสูง (6)ประสานความร่วมมือและช่วยเหลือเกื้อกูลกันระหวางมหาวิทยาลัย ชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและองค์กรอื่นทั้งในและต่างประเทศเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น
(7) ศึกษาและแสวงหาแนวทางพัฒนาเทคโนโลยีพื้นบ้านและเทคโนโลยีสมัยใหม่ให้เหมาะสมกับการดำรงชีวิตและการประกอบอาชีพของคนในท้องถิ่น รวมถึงการแสวงหาแนวทางเพื่อส่งเสริมให้เกิดการจัดการการบำรุงรักษาและการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลและยั่งยืน
(8) ศึกษาวิจัย ส่งเสริมและสืบสานโครงการอันเนื่องมาจากแนวพระราชดำริในการปฏิบัติภารกิจของมหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น

มหาวิทยาลัยราชภัฏจึงได้น้อมนำพระราโชบายด้านการศึกษาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในการเป็นสถาบันการศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น และบทบาทหน้าที่ของมหาวิทยาลัยราชภัฏตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 โดยจัดทำยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย ราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ระยะ 20 ปี ขึ้น โดยต่อมาได้มีการทบทวนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2560 – 2579) เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 2561 โดยการมีส่วนร่วมของมหาวิทยาลัยราชภัฏทั้ง 38 แห่ง ได้กำหนดวิสัยทัศน์ว่า มหาวิทยาลัยราชภัฏเป็นสถาบันที่ผลิต บัณฑิตที่มีอัตลักษณ์ มีคุณภาพ มีสมรรถนะและเป็นสถาบันหลักที่บูรณาการองค์ความรู้สู่นวัตกรรมในการพัฒนาท้องถิ่นเพื่อสร้างความมั่นคงให้ประเทศ โดยการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) ประกอบด้วย 4 ประเด็นยุทธศาสตร์ ได้แก่

1. การพัฒนาท้องถิ่นสร้างสรรค์ คุณภาพท้องถิ่นและสังคมอย่างยั่งยืนขับเคลื่อน คุณภาพการวิจัย การเรียนการสอน และการพัฒนาชุมชนท้องถิ่นอนุรักษ์ ขนบธรรมเนียมประเพณีและศิลปวัฒนธรรม
2. การผลิตและพัฒนาครู พัฒนาคุณภาพการผลิตและพัฒนาครูที่ได้มาตรฐานวิชาชีพ และมีจิตวิญญาณความเป็นครูที่สอดคล้องกับความต้องการของท้องถิ่น
3. การยกระดับคุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษา คุณภาพอาจารย์คุณภาพบัณฑิต การจัดการเรียนการรู้ สำหรับศตวรรษที่ 21
4. การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการพื้นที่ความรับผิดชอบ ระบบฐานข้อมูล การใช้ทรัพยากรร่วมกัน การพัฒนาเครือข่ายในพื้นที่ และสร้างธรรมาภิบาล

มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ซึ่งได้กำหนดวิสัยทัศน์และยุทธศาสตร์เพื่อการขับเคลื่อนมหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ให้เป็น “มหาวิทยาลัยชั้นนำรับใช้สังคมของภาคตะวันออก เพื่อสร้างนวัตกรรมตามศาสตร์พระราชา” โดยมหาวิทยาลัยได้น้อมนำพระราโชบายด้านการศึกษาในการเป็นสถาบันการศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นเป็นพื้นฐานในการพัฒนายุทธศาสตร์ บนพื้นฐานศักยภาพตามบริบทของมหาวิทยาลัย ซึ่งได้ดำเนินนโยบายการทำงานร่วมกับชุมชน สร้างความร่วมมือกับเครือข่ายในท้องถิ่น โดยการร่วมมือกำหนดประเด็นการแก้ไขปัญหา ในเขตพื้นที่ความรับผิดชอบของมหาวิทยาลัย ที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579)

การดำเนินงานโครงการตามยุทธศาสตร์ราชภัฏพัฒนาท้องถิ่น จะสำเร็จได้ด้วยความร่วมมือจากทุกฝ่ายทั้งภาครัฐและเอกชน โดยยึดเอาประโยชน์ของท้องถิ่น ชุมชน ในการสร้างบัณฑิตจิตอาสาพัฒนาท้องถิ่น และสามารถยกระดับคุณภาพชีวิตให้มีความมั่นคงและยั่งยืนต่อไป

 

การขออนุมัติโครงการและข้อควรระวังในการดำเนินงานโครงการ

พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 มาตรา 7 ระบุว่าให้มหาวิทยาลัยเป็นสถาบันอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นที่เสริมสร้างพลังปัญญาของแผ่นดิน ฟื้นฟูพลังการเรียนรู้ เชิดชูภูมิปัญญาของท้องถิ่น สร้างสรรค์ศิลปวิทยาเพื่อความเจริญก้าวหน้าอย่างมั่นคงและยั่งยืนของปวงชนมีส่วนร่วมในการจัดการการบำรุงรักษาการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลและยั่งยืน โดยมีวัตถุประสงค์ให้การศึกษาส่งเสริมวิชาการและวิชาชีพชั้นสูง ทำการสอน วิจัย ให้บริการทางวิชาการแก่สังคม ปรับปรุงถ่ายทอดและพัฒนาเทคโนโลยี ทะนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมผลิตครูและส่งเสริมวิทยฐานะครู และมาตรา 8 ได้กำหนดแนวทางการดำเนินงานเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามมาตรา 7 ดังต่อไปนี้

(1) แสวงหาความจริงเพื่อความเป็นเลิศทางวิชาการบนพื้นฐานของภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย และภูมิปัญญาสากล
(2) ผลิตบัณฑิตที่มีความรู้คู่คุณธรรม สำนึกในความเป็นไทย มีความรักและผูกพันต่อท้องถิ่น อีกทั้งส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตในชุมชน เพื่อช่วยให้คนในท้องถิ่นรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง การผลิตบัณฑิตดังกล่าวจะต้องให้มีจำนวนและคุณภาพสอดคล้องกับแผนการผลิต บัณฑิตของประเทศ
(3) เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในคุณค่าความสำนึกและความภูมิใจในวัฒนธรรมของท้องถิ่นและของชาติ
(4) เรียนรู้และเสริมสร้างความเข้มแข็งของผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนาและนักการเมือง ท้องถิ่นให้มีจิตสำนึกประชาธิปไตยคุณธรรม จริยธรรม และความสามารถในการบริหารงานพัฒนาชุมชนและท้องถิ่นเพื่อประโยชน์ของส่วนรวม
(5) เสริมสร้างความเขhมแข็งของวิชาชีพครูผลิตและพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีคุณภาพและมาตรฐานที่เหมาะสมกับการเป็นวิชาชีพชั้นสูง (6)ประสานความร่วมมือและช่วยเหลือเกื้อกูลกันระหวางมหาวิทยาลัย ชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและองค์กรอื่นทั้งในและต่างประเทศเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น
(7) ศึกษาและแสวงหาแนวทางพัฒนาเทคโนโลยีพื้นบ้านและเทคโนโลยีสมัยใหม่ให้เหมาะสมกับการดำรงชีวิตและการประกอบอาชีพของคนในท้องถิ่น รวมถึงการแสวงหาแนวทางเพื่อส่งเสริมให้เกิดการจัดการการบำรุงรักษาและการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลและยั่งยืน
(8) ศึกษาวิจัย ส่งเสริมและสืบสานโครงการอันเนื่องมาจากแนวพระราชดำริในการปฏิบัติภารกิจของมหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น

มหาวิทยาลัยราชภัฏจึงได้น้อมนำพระราโชบายด้านการศึกษาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในการเป็นสถาบันการศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น และบทบาทหน้าที่ของมหาวิทยาลัยราชภัฏตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 โดยจัดทำยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย ราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ระยะ 20 ปี ขึ้น โดยต่อมาได้มีการทบทวนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2560 – 2579) เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 2561 โดยการมีส่วนร่วมของมหาวิทยาลัยราชภัฏทั้ง 38 แห่ง ได้กำหนดวิสัยทัศน์ว่า มหาวิทยาลัยราชภัฏเป็นสถาบันที่ผลิต บัณฑิตที่มีอัตลักษณ์ มีคุณภาพ มีสมรรถนะและเป็นสถาบันหลักที่บูรณาการองค์ความรู้สู่นวัตกรรมในการพัฒนาท้องถิ่นเพื่อสร้างความมั่นคงให้ประเทศ โดยการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) ประกอบด้วย 4 ประเด็นยุทธศาสตร์ ได้แก่

1. การพัฒนาท้องถิ่นสร้างสรรค์ คุณภาพท้องถิ่นและสังคมอย่างยั่งยืนขับเคลื่อน คุณภาพการวิจัย การเรียนการสอน และการพัฒนาชุมชนท้องถิ่นอนุรักษ์ ขนบธรรมเนียมประเพณีและศิลปวัฒนธรรม
2. การผลิตและพัฒนาครู พัฒนาคุณภาพการผลิตและพัฒนาครูที่ได้มาตรฐานวิชาชีพ และมีจิตวิญญาณความเป็นครูที่สอดคล้องกับความต้องการของท้องถิ่น
3. การยกระดับคุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษา คุณภาพอาจารย์คุณภาพบัณฑิต การจัดการเรียนการรู้ สำหรับศตวรรษที่ 21
4. การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการพื้นที่ความรับผิดชอบ ระบบฐานข้อมูล การใช้ทรัพยากรร่วมกัน การพัฒนาเครือข่ายในพื้นที่ และสร้างธรรมาภิบาล

มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ซึ่งได้กำหนดวิสัยทัศน์และยุทธศาสตร์เพื่อการขับเคลื่อนมหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ให้เป็น “มหาวิทยาลัยชั้นนำรับใช้สังคมของภาคตะวันออก เพื่อสร้างนวัตกรรมตามศาสตร์พระราชา” โดยมหาวิทยาลัยได้น้อมนำพระราโชบายด้านการศึกษาในการเป็นสถาบันการศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นเป็นพื้นฐานในการพัฒนายุทธศาสตร์ บนพื้นฐานศักยภาพตามบริบทของมหาวิทยาลัย ซึ่งได้ดำเนินนโยบายการทำงานร่วมกับชุมชน สร้างความร่วมมือกับเครือข่ายในท้องถิ่น โดยการร่วมมือกำหนดประเด็นการแก้ไขปัญหา ในเขตพื้นที่ความรับผิดชอบของมหาวิทยาลัย ที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579)

การดำเนินงานโครงการตามยุทธศาสตร์ราชภัฏพัฒนาท้องถิ่น จะสำเร็จได้ด้วยความร่วมมือจากทุกฝ่ายทั้งภาครัฐและเอกชน โดยยึดเอาประโยชน์ของท้องถิ่น ชุมชน ในการสร้างบัณฑิตจิตอาสาพัฒนาท้องถิ่น และสามารถยกระดับคุณภาพชีวิตให้มีความมั่นคงและยั่งยืนต่อไป

 

การจำแนกหมวดรายจ่ายสำหรับดำเนินกิจกรรมโครงการ

พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 มาตรา 7 ระบุว่าให้มหาวิทยาลัยเป็นสถาบันอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นที่เสริมสร้างพลังปัญญาของแผ่นดิน ฟื้นฟูพลังการเรียนรู้ เชิดชูภูมิปัญญาของท้องถิ่น สร้างสรรค์ศิลปวิทยาเพื่อความเจริญก้าวหน้าอย่างมั่นคงและยั่งยืนของปวงชนมีส่วนร่วมในการจัดการการบำรุงรักษาการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลและยั่งยืน โดยมีวัตถุประสงค์ให้การศึกษาส่งเสริมวิชาการและวิชาชีพชั้นสูง ทำการสอน วิจัย ให้บริการทางวิชาการแก่สังคม ปรับปรุงถ่ายทอดและพัฒนาเทคโนโลยี ทะนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมผลิตครูและส่งเสริมวิทยฐานะครู และมาตรา 8 ได้กำหนดแนวทางการดำเนินงานเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามมาตรา 7 ดังต่อไปนี้

(1) แสวงหาความจริงเพื่อความเป็นเลิศทางวิชาการบนพื้นฐานของภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย และภูมิปัญญาสากล
(2) ผลิตบัณฑิตที่มีความรู้คู่คุณธรรม สำนึกในความเป็นไทย มีความรักและผูกพันต่อท้องถิ่น อีกทั้งส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตในชุมชน เพื่อช่วยให้คนในท้องถิ่นรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง การผลิตบัณฑิตดังกล่าวจะต้องให้มีจำนวนและคุณภาพสอดคล้องกับแผนการผลิต บัณฑิตของประเทศ
(3) เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในคุณค่าความสำนึกและความภูมิใจในวัฒนธรรมของท้องถิ่นและของชาติ
(4) เรียนรู้และเสริมสร้างความเข้มแข็งของผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนาและนักการเมือง ท้องถิ่นให้มีจิตสำนึกประชาธิปไตยคุณธรรม จริยธรรม และความสามารถในการบริหารงานพัฒนาชุมชนและท้องถิ่นเพื่อประโยชน์ของส่วนรวม
(5) เสริมสร้างความเขhมแข็งของวิชาชีพครูผลิตและพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีคุณภาพและมาตรฐานที่เหมาะสมกับการเป็นวิชาชีพชั้นสูง (6)ประสานความร่วมมือและช่วยเหลือเกื้อกูลกันระหวางมหาวิทยาลัย ชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและองค์กรอื่นทั้งในและต่างประเทศเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น
(7) ศึกษาและแสวงหาแนวทางพัฒนาเทคโนโลยีพื้นบ้านและเทคโนโลยีสมัยใหม่ให้เหมาะสมกับการดำรงชีวิตและการประกอบอาชีพของคนในท้องถิ่น รวมถึงการแสวงหาแนวทางเพื่อส่งเสริมให้เกิดการจัดการการบำรุงรักษาและการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลและยั่งยืน
(8) ศึกษาวิจัย ส่งเสริมและสืบสานโครงการอันเนื่องมาจากแนวพระราชดำริในการปฏิบัติภารกิจของมหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น

มหาวิทยาลัยราชภัฏจึงได้น้อมนำพระราโชบายด้านการศึกษาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในการเป็นสถาบันการศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น และบทบาทหน้าที่ของมหาวิทยาลัยราชภัฏตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 โดยจัดทำยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย ราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ระยะ 20 ปี ขึ้น โดยต่อมาได้มีการทบทวนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2560 – 2579) เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 2561 โดยการมีส่วนร่วมของมหาวิทยาลัยราชภัฏทั้ง 38 แห่ง ได้กำหนดวิสัยทัศน์ว่า มหาวิทยาลัยราชภัฏเป็นสถาบันที่ผลิต บัณฑิตที่มีอัตลักษณ์ มีคุณภาพ มีสมรรถนะและเป็นสถาบันหลักที่บูรณาการองค์ความรู้สู่นวัตกรรมในการพัฒนาท้องถิ่นเพื่อสร้างความมั่นคงให้ประเทศ โดยการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) ประกอบด้วย 4 ประเด็นยุทธศาสตร์ ได้แก่

1. การพัฒนาท้องถิ่นสร้างสรรค์ คุณภาพท้องถิ่นและสังคมอย่างยั่งยืนขับเคลื่อน คุณภาพการวิจัย การเรียนการสอน และการพัฒนาชุมชนท้องถิ่นอนุรักษ์ ขนบธรรมเนียมประเพณีและศิลปวัฒนธรรม
2. การผลิตและพัฒนาครู พัฒนาคุณภาพการผลิตและพัฒนาครูที่ได้มาตรฐานวิชาชีพ และมีจิตวิญญาณความเป็นครูที่สอดคล้องกับความต้องการของท้องถิ่น
3. การยกระดับคุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษา คุณภาพอาจารย์คุณภาพบัณฑิต การจัดการเรียนการรู้ สำหรับศตวรรษที่ 21
4. การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการพื้นที่ความรับผิดชอบ ระบบฐานข้อมูล การใช้ทรัพยากรร่วมกัน การพัฒนาเครือข่ายในพื้นที่ และสร้างธรรมาภิบาล

มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ซึ่งได้กำหนดวิสัยทัศน์และยุทธศาสตร์เพื่อการขับเคลื่อนมหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ให้เป็น “มหาวิทยาลัยชั้นนำรับใช้สังคมของภาคตะวันออก เพื่อสร้างนวัตกรรมตามศาสตร์พระราชา” โดยมหาวิทยาลัยได้น้อมนำพระราโชบายด้านการศึกษาในการเป็นสถาบันการศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นเป็นพื้นฐานในการพัฒนายุทธศาสตร์ บนพื้นฐานศักยภาพตามบริบทของมหาวิทยาลัย ซึ่งได้ดำเนินนโยบายการทำงานร่วมกับชุมชน สร้างความร่วมมือกับเครือข่ายในท้องถิ่น โดยการร่วมมือกำหนดประเด็นการแก้ไขปัญหา ในเขตพื้นที่ความรับผิดชอบของมหาวิทยาลัย ที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579)

การดำเนินงานโครงการตามยุทธศาสตร์ราชภัฏพัฒนาท้องถิ่น จะสำเร็จได้ด้วยความร่วมมือจากทุกฝ่ายทั้งภาครัฐและเอกชน โดยยึดเอาประโยชน์ของท้องถิ่น ชุมชน ในการสร้างบัณฑิตจิตอาสาพัฒนาท้องถิ่น และสามารถยกระดับคุณภาพชีวิตให้มีความมั่นคงและยั่งยืนต่อไป

 

หมวดค่าตอบแทน

พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 มาตรา 7 ระบุว่าให้มหาวิทยาลัยเป็นสถาบันอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นที่เสริมสร้างพลังปัญญาของแผ่นดิน ฟื้นฟูพลังการเรียนรู้ เชิดชูภูมิปัญญาของท้องถิ่น สร้างสรรค์ศิลปวิทยาเพื่อความเจริญก้าวหน้าอย่างมั่นคงและยั่งยืนของปวงชนมีส่วนร่วมในการจัดการการบำรุงรักษาการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลและยั่งยืน โดยมีวัตถุประสงค์ให้การศึกษาส่งเสริมวิชาการและวิชาชีพชั้นสูง ทำการสอน วิจัย ให้บริการทางวิชาการแก่สังคม ปรับปรุงถ่ายทอดและพัฒนาเทคโนโลยี ทะนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมผลิตครูและส่งเสริมวิทยฐานะครู และมาตรา 8 ได้กำหนดแนวทางการดำเนินงานเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามมาตรา 7 ดังต่อไปนี้

(1) แสวงหาความจริงเพื่อความเป็นเลิศทางวิชาการบนพื้นฐานของภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย และภูมิปัญญาสากล
(2) ผลิตบัณฑิตที่มีความรู้คู่คุณธรรม สำนึกในความเป็นไทย มีความรักและผูกพันต่อท้องถิ่น อีกทั้งส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตในชุมชน เพื่อช่วยให้คนในท้องถิ่นรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง การผลิตบัณฑิตดังกล่าวจะต้องให้มีจำนวนและคุณภาพสอดคล้องกับแผนการผลิต บัณฑิตของประเทศ
(3) เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในคุณค่าความสำนึกและความภูมิใจในวัฒนธรรมของท้องถิ่นและของชาติ
(4) เรียนรู้และเสริมสร้างความเข้มแข็งของผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนาและนักการเมือง ท้องถิ่นให้มีจิตสำนึกประชาธิปไตยคุณธรรม จริยธรรม และความสามารถในการบริหารงานพัฒนาชุมชนและท้องถิ่นเพื่อประโยชน์ของส่วนรวม
(5) เสริมสร้างความเขhมแข็งของวิชาชีพครูผลิตและพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีคุณภาพและมาตรฐานที่เหมาะสมกับการเป็นวิชาชีพชั้นสูง (6)ประสานความร่วมมือและช่วยเหลือเกื้อกูลกันระหวางมหาวิทยาลัย ชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและองค์กรอื่นทั้งในและต่างประเทศเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น
(7) ศึกษาและแสวงหาแนวทางพัฒนาเทคโนโลยีพื้นบ้านและเทคโนโลยีสมัยใหม่ให้เหมาะสมกับการดำรงชีวิตและการประกอบอาชีพของคนในท้องถิ่น รวมถึงการแสวงหาแนวทางเพื่อส่งเสริมให้เกิดการจัดการการบำรุงรักษาและการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลและยั่งยืน
(8) ศึกษาวิจัย ส่งเสริมและสืบสานโครงการอันเนื่องมาจากแนวพระราชดำริในการปฏิบัติภารกิจของมหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น

มหาวิทยาลัยราชภัฏจึงได้น้อมนำพระราโชบายด้านการศึกษาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในการเป็นสถาบันการศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น และบทบาทหน้าที่ของมหาวิทยาลัยราชภัฏตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 โดยจัดทำยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย ราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ระยะ 20 ปี ขึ้น โดยต่อมาได้มีการทบทวนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2560 – 2579) เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 2561 โดยการมีส่วนร่วมของมหาวิทยาลัยราชภัฏทั้ง 38 แห่ง ได้กำหนดวิสัยทัศน์ว่า มหาวิทยาลัยราชภัฏเป็นสถาบันที่ผลิต บัณฑิตที่มีอัตลักษณ์ มีคุณภาพ มีสมรรถนะและเป็นสถาบันหลักที่บูรณาการองค์ความรู้สู่นวัตกรรมในการพัฒนาท้องถิ่นเพื่อสร้างความมั่นคงให้ประเทศ โดยการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) ประกอบด้วย 4 ประเด็นยุทธศาสตร์ ได้แก่

1. การพัฒนาท้องถิ่นสร้างสรรค์ คุณภาพท้องถิ่นและสังคมอย่างยั่งยืนขับเคลื่อน คุณภาพการวิจัย การเรียนการสอน และการพัฒนาชุมชนท้องถิ่นอนุรักษ์ ขนบธรรมเนียมประเพณีและศิลปวัฒนธรรม
2. การผลิตและพัฒนาครู พัฒนาคุณภาพการผลิตและพัฒนาครูที่ได้มาตรฐานวิชาชีพ และมีจิตวิญญาณความเป็นครูที่สอดคล้องกับความต้องการของท้องถิ่น
3. การยกระดับคุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษา คุณภาพอาจารย์คุณภาพบัณฑิต การจัดการเรียนการรู้ สำหรับศตวรรษที่ 21
4. การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการพื้นที่ความรับผิดชอบ ระบบฐานข้อมูล การใช้ทรัพยากรร่วมกัน การพัฒนาเครือข่ายในพื้นที่ และสร้างธรรมาภิบาล

มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ซึ่งได้กำหนดวิสัยทัศน์และยุทธศาสตร์เพื่อการขับเคลื่อนมหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ให้เป็น “มหาวิทยาลัยชั้นนำรับใช้สังคมของภาคตะวันออก เพื่อสร้างนวัตกรรมตามศาสตร์พระราชา” โดยมหาวิทยาลัยได้น้อมนำพระราโชบายด้านการศึกษาในการเป็นสถาบันการศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นเป็นพื้นฐานในการพัฒนายุทธศาสตร์ บนพื้นฐานศักยภาพตามบริบทของมหาวิทยาลัย ซึ่งได้ดำเนินนโยบายการทำงานร่วมกับชุมชน สร้างความร่วมมือกับเครือข่ายในท้องถิ่น โดยการร่วมมือกำหนดประเด็นการแก้ไขปัญหา ในเขตพื้นที่ความรับผิดชอบของมหาวิทยาลัย ที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579)

การดำเนินงานโครงการตามยุทธศาสตร์ราชภัฏพัฒนาท้องถิ่น จะสำเร็จได้ด้วยความร่วมมือจากทุกฝ่ายทั้งภาครัฐและเอกชน โดยยึดเอาประโยชน์ของท้องถิ่น ชุมชน ในการสร้างบัณฑิตจิตอาสาพัฒนาท้องถิ่น และสามารถยกระดับคุณภาพชีวิตให้มีความมั่นคงและยั่งยืนต่อไป

 

หมวดค่าใช้สอย

พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 มาตรา 7 ระบุว่าให้มหาวิทยาลัยเป็นสถาบันอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นที่เสริมสร้างพลังปัญญาของแผ่นดิน ฟื้นฟูพลังการเรียนรู้ เชิดชูภูมิปัญญาของท้องถิ่น สร้างสรรค์ศิลปวิทยาเพื่อความเจริญก้าวหน้าอย่างมั่นคงและยั่งยืนของปวงชนมีส่วนร่วมในการจัดการการบำรุงรักษาการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลและยั่งยืน โดยมีวัตถุประสงค์ให้การศึกษาส่งเสริมวิชาการและวิชาชีพชั้นสูง ทำการสอน วิจัย ให้บริการทางวิชาการแก่สังคม ปรับปรุงถ่ายทอดและพัฒนาเทคโนโลยี ทะนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมผลิตครูและส่งเสริมวิทยฐานะครู และมาตรา 8 ได้กำหนดแนวทางการดำเนินงานเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามมาตรา 7 ดังต่อไปนี้

(1) แสวงหาความจริงเพื่อความเป็นเลิศทางวิชาการบนพื้นฐานของภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย และภูมิปัญญาสากล
(2) ผลิตบัณฑิตที่มีความรู้คู่คุณธรรม สำนึกในความเป็นไทย มีความรักและผูกพันต่อท้องถิ่น อีกทั้งส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตในชุมชน เพื่อช่วยให้คนในท้องถิ่นรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง การผลิตบัณฑิตดังกล่าวจะต้องให้มีจำนวนและคุณภาพสอดคล้องกับแผนการผลิต บัณฑิตของประเทศ
(3) เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในคุณค่าความสำนึกและความภูมิใจในวัฒนธรรมของท้องถิ่นและของชาติ
(4) เรียนรู้และเสริมสร้างความเข้มแข็งของผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนาและนักการเมือง ท้องถิ่นให้มีจิตสำนึกประชาธิปไตยคุณธรรม จริยธรรม และความสามารถในการบริหารงานพัฒนาชุมชนและท้องถิ่นเพื่อประโยชน์ของส่วนรวม
(5) เสริมสร้างความเขhมแข็งของวิชาชีพครูผลิตและพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีคุณภาพและมาตรฐานที่เหมาะสมกับการเป็นวิชาชีพชั้นสูง (6)ประสานความร่วมมือและช่วยเหลือเกื้อกูลกันระหวางมหาวิทยาลัย ชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและองค์กรอื่นทั้งในและต่างประเทศเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น
(7) ศึกษาและแสวงหาแนวทางพัฒนาเทคโนโลยีพื้นบ้านและเทคโนโลยีสมัยใหม่ให้เหมาะสมกับการดำรงชีวิตและการประกอบอาชีพของคนในท้องถิ่น รวมถึงการแสวงหาแนวทางเพื่อส่งเสริมให้เกิดการจัดการการบำรุงรักษาและการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลและยั่งยืน
(8) ศึกษาวิจัย ส่งเสริมและสืบสานโครงการอันเนื่องมาจากแนวพระราชดำริในการปฏิบัติภารกิจของมหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น

มหาวิทยาลัยราชภัฏจึงได้น้อมนำพระราโชบายด้านการศึกษาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในการเป็นสถาบันการศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น และบทบาทหน้าที่ของมหาวิทยาลัยราชภัฏตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 โดยจัดทำยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย ราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ระยะ 20 ปี ขึ้น โดยต่อมาได้มีการทบทวนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2560 – 2579) เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 2561 โดยการมีส่วนร่วมของมหาวิทยาลัยราชภัฏทั้ง 38 แห่ง ได้กำหนดวิสัยทัศน์ว่า มหาวิทยาลัยราชภัฏเป็นสถาบันที่ผลิต บัณฑิตที่มีอัตลักษณ์ มีคุณภาพ มีสมรรถนะและเป็นสถาบันหลักที่บูรณาการองค์ความรู้สู่นวัตกรรมในการพัฒนาท้องถิ่นเพื่อสร้างความมั่นคงให้ประเทศ โดยการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) ประกอบด้วย 4 ประเด็นยุทธศาสตร์ ได้แก่

1. การพัฒนาท้องถิ่นสร้างสรรค์ คุณภาพท้องถิ่นและสังคมอย่างยั่งยืนขับเคลื่อน คุณภาพการวิจัย การเรียนการสอน และการพัฒนาชุมชนท้องถิ่นอนุรักษ์ ขนบธรรมเนียมประเพณีและศิลปวัฒนธรรม
2. การผลิตและพัฒนาครู พัฒนาคุณภาพการผลิตและพัฒนาครูที่ได้มาตรฐานวิชาชีพ และมีจิตวิญญาณความเป็นครูที่สอดคล้องกับความต้องการของท้องถิ่น
3. การยกระดับคุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษา คุณภาพอาจารย์คุณภาพบัณฑิต การจัดการเรียนการรู้ สำหรับศตวรรษที่ 21
4. การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการพื้นที่ความรับผิดชอบ ระบบฐานข้อมูล การใช้ทรัพยากรร่วมกัน การพัฒนาเครือข่ายในพื้นที่ และสร้างธรรมาภิบาล

มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ซึ่งได้กำหนดวิสัยทัศน์และยุทธศาสตร์เพื่อการขับเคลื่อนมหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ให้เป็น “มหาวิทยาลัยชั้นนำรับใช้สังคมของภาคตะวันออก เพื่อสร้างนวัตกรรมตามศาสตร์พระราชา” โดยมหาวิทยาลัยได้น้อมนำพระราโชบายด้านการศึกษาในการเป็นสถาบันการศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นเป็นพื้นฐานในการพัฒนายุทธศาสตร์ บนพื้นฐานศักยภาพตามบริบทของมหาวิทยาลัย ซึ่งได้ดำเนินนโยบายการทำงานร่วมกับชุมชน สร้างความร่วมมือกับเครือข่ายในท้องถิ่น โดยการร่วมมือกำหนดประเด็นการแก้ไขปัญหา ในเขตพื้นที่ความรับผิดชอบของมหาวิทยาลัย ที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579)

การดำเนินงานโครงการตามยุทธศาสตร์ราชภัฏพัฒนาท้องถิ่น จะสำเร็จได้ด้วยความร่วมมือจากทุกฝ่ายทั้งภาครัฐและเอกชน โดยยึดเอาประโยชน์ของท้องถิ่น ชุมชน ในการสร้างบัณฑิตจิตอาสาพัฒนาท้องถิ่น และสามารถยกระดับคุณภาพชีวิตให้มีความมั่นคงและยั่งยืนต่อไป

 

หมวดค่าวัสดุ

พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 มาตรา 7 ระบุว่าให้มหาวิทยาลัยเป็นสถาบันอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นที่เสริมสร้างพลังปัญญาของแผ่นดิน ฟื้นฟูพลังการเรียนรู้ เชิดชูภูมิปัญญาของท้องถิ่น สร้างสรรค์ศิลปวิทยาเพื่อความเจริญก้าวหน้าอย่างมั่นคงและยั่งยืนของปวงชนมีส่วนร่วมในการจัดการการบำรุงรักษาการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลและยั่งยืน โดยมีวัตถุประสงค์ให้การศึกษาส่งเสริมวิชาการและวิชาชีพชั้นสูง ทำการสอน วิจัย ให้บริการทางวิชาการแก่สังคม ปรับปรุงถ่ายทอดและพัฒนาเทคโนโลยี ทะนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมผลิตครูและส่งเสริมวิทยฐานะครู และมาตรา 8 ได้กำหนดแนวทางการดำเนินงานเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามมาตรา 7 ดังต่อไปนี้

(1) แสวงหาความจริงเพื่อความเป็นเลิศทางวิชาการบนพื้นฐานของภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย และภูมิปัญญาสากล
(2) ผลิตบัณฑิตที่มีความรู้คู่คุณธรรม สำนึกในความเป็นไทย มีความรักและผูกพันต่อท้องถิ่น อีกทั้งส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตในชุมชน เพื่อช่วยให้คนในท้องถิ่นรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง การผลิตบัณฑิตดังกล่าวจะต้องให้มีจำนวนและคุณภาพสอดคล้องกับแผนการผลิต บัณฑิตของประเทศ
(3) เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในคุณค่าความสำนึกและความภูมิใจในวัฒนธรรมของท้องถิ่นและของชาติ
(4) เรียนรู้และเสริมสร้างความเข้มแข็งของผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนาและนักการเมือง ท้องถิ่นให้มีจิตสำนึกประชาธิปไตยคุณธรรม จริยธรรม และความสามารถในการบริหารงานพัฒนาชุมชนและท้องถิ่นเพื่อประโยชน์ของส่วนรวม
(5) เสริมสร้างความเขhมแข็งของวิชาชีพครูผลิตและพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีคุณภาพและมาตรฐานที่เหมาะสมกับการเป็นวิชาชีพชั้นสูง (6)ประสานความร่วมมือและช่วยเหลือเกื้อกูลกันระหวางมหาวิทยาลัย ชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและองค์กรอื่นทั้งในและต่างประเทศเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น
(7) ศึกษาและแสวงหาแนวทางพัฒนาเทคโนโลยีพื้นบ้านและเทคโนโลยีสมัยใหม่ให้เหมาะสมกับการดำรงชีวิตและการประกอบอาชีพของคนในท้องถิ่น รวมถึงการแสวงหาแนวทางเพื่อส่งเสริมให้เกิดการจัดการการบำรุงรักษาและการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลและยั่งยืน
(8) ศึกษาวิจัย ส่งเสริมและสืบสานโครงการอันเนื่องมาจากแนวพระราชดำริในการปฏิบัติภารกิจของมหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น

มหาวิทยาลัยราชภัฏจึงได้น้อมนำพระราโชบายด้านการศึกษาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในการเป็นสถาบันการศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น และบทบาทหน้าที่ของมหาวิทยาลัยราชภัฏตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 โดยจัดทำยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย ราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ระยะ 20 ปี ขึ้น โดยต่อมาได้มีการทบทวนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2560 – 2579) เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 2561 โดยการมีส่วนร่วมของมหาวิทยาลัยราชภัฏทั้ง 38 แห่ง ได้กำหนดวิสัยทัศน์ว่า มหาวิทยาลัยราชภัฏเป็นสถาบันที่ผลิต บัณฑิตที่มีอัตลักษณ์ มีคุณภาพ มีสมรรถนะและเป็นสถาบันหลักที่บูรณาการองค์ความรู้สู่นวัตกรรมในการพัฒนาท้องถิ่นเพื่อสร้างความมั่นคงให้ประเทศ โดยการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) ประกอบด้วย 4 ประเด็นยุทธศาสตร์ ได้แก่

1. การพัฒนาท้องถิ่นสร้างสรรค์ คุณภาพท้องถิ่นและสังคมอย่างยั่งยืนขับเคลื่อน คุณภาพการวิจัย การเรียนการสอน และการพัฒนาชุมชนท้องถิ่นอนุรักษ์ ขนบธรรมเนียมประเพณีและศิลปวัฒนธรรม
2. การผลิตและพัฒนาครู พัฒนาคุณภาพการผลิตและพัฒนาครูที่ได้มาตรฐานวิชาชีพ และมีจิตวิญญาณความเป็นครูที่สอดคล้องกับความต้องการของท้องถิ่น
3. การยกระดับคุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษา คุณภาพอาจารย์คุณภาพบัณฑิต การจัดการเรียนการรู้ สำหรับศตวรรษที่ 21
4. การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการพื้นที่ความรับผิดชอบ ระบบฐานข้อมูล การใช้ทรัพยากรร่วมกัน การพัฒนาเครือข่ายในพื้นที่ และสร้างธรรมาภิบาล

มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ซึ่งได้กำหนดวิสัยทัศน์และยุทธศาสตร์เพื่อการขับเคลื่อนมหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ให้เป็น “มหาวิทยาลัยชั้นนำรับใช้สังคมของภาคตะวันออก เพื่อสร้างนวัตกรรมตามศาสตร์พระราชา” โดยมหาวิทยาลัยได้น้อมนำพระราโชบายด้านการศึกษาในการเป็นสถาบันการศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นเป็นพื้นฐานในการพัฒนายุทธศาสตร์ บนพื้นฐานศักยภาพตามบริบทของมหาวิทยาลัย ซึ่งได้ดำเนินนโยบายการทำงานร่วมกับชุมชน สร้างความร่วมมือกับเครือข่ายในท้องถิ่น โดยการร่วมมือกำหนดประเด็นการแก้ไขปัญหา ในเขตพื้นที่ความรับผิดชอบของมหาวิทยาลัย ที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579)

การดำเนินงานโครงการตามยุทธศาสตร์ราชภัฏพัฒนาท้องถิ่น จะสำเร็จได้ด้วยความร่วมมือจากทุกฝ่ายทั้งภาครัฐและเอกชน โดยยึดเอาประโยชน์ของท้องถิ่น ชุมชน ในการสร้างบัณฑิตจิตอาสาพัฒนาท้องถิ่น และสามารถยกระดับคุณภาพชีวิตให้มีความมั่นคงและยั่งยืนต่อไป

 

กฎหมาย ระเบียบ และหลักเกณฑ์

 

  1. คู่มือการบริหารงบประมาณ สำหรับผู้รับผิดชอบโครงการตามยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น

 

 


สำหรับข้อมูลที่ยังไม่ปรากฏ หากมีข้อสงสัยหรือข้อแนะนำที่เกี่ยวข้อง สามารถพิมพ์ผ่านเฟซบุ๊กด้านล่าง ดังที่ปรากฏ