ข้อมูลล่าสุด ณ วันที่
น.
แนวทางการบริหารงบประมาณ สำหรับผู้รับผิดชอบโครงการตามยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น
พร้อมระบบการให้คำปรึกษาผ่านเครือข่ายออนไลน์ เป็นการพัฒนานวัตกรรมเพื่อสนับสนุนให้บุคลากรได้เข้าถึงข้อมูลที่จำเป็น มีความถูกต้อง และรวดเร็ว
ต่อการบริหารงบประมาณของบุคลากรภายในคณะครุศาสตร์ อีกทั้งยังเป็นการช่วยลดขั้นตอนการดำเนินงานในการจัดทำโครงการที่เกี่ยวข้อง
ซึ่งมีการนำข้อมูลที่จำเป็นมาผ่านระบบการให้คำปรึกษาผ่านเครือข่ายออนไลน์ ซึ่งประกอบด้วยข้อมูลจำแนกหัวข้อได้ ดังนี้
- ยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ระยะ 20 ปี พ.ศ. 2560 – 2579
- ขั้นตอนการเบิกจ่ายเงินงบประมาณโครงการยุทธศาสตร์
- การขออนุมัติโครงการและข้อควรระวังในการดำเนินงานโครงการ
- การจำแนกหมวดรายจ่ายสำหรับดำเนินกิจกรรมโครงการ
- การใช้จ่ายงบประมาณโครงการจำแนกหมวดรายจ่ายสำหรับดำเนินกิจกรรมโครงการ
- หมวดค่าตอบแทน
- หมวดค่าใช้สอย
- หมวดค่าวัสดุ
- กฎหมาย ระเบียบ และหลักเกณฑ์
- แบบฟอร์มที่เกี่ยวข้อง
ยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ระยะ 20 ปี พ.ศ. 2560 – 2579
- การขอยืมเงินทดรองราชการ : แนบโครงการที่ได้รับการอนุมัติแล้วและแบบฟอร์มขอยืมเงินทดรองราชการอย่างน้อย 3 วันทำการ ทั้งนี้ควรนับ 3 วันทำการเมื่อเอกสารเสร็จเรียบร้อยแล้วจากหน่วยงานและเดินทางไปถึงยังหน่วยงานคลัง
- หน่วยงานคลังจ่ายเช็คเงินยืมในวันจันทร์ วันพุธ และวันศุกร์
- การขออนุมัติโครงการใช้แบบฟอร์มเสนอโครงการของมหาวิทยาลัย (ภาคผนวก) พร้อมบันทึกข้อความเสนออนุมัติตามลำดับ
- ผู้มีอำนาจอนุมัติโครงการ พิจารณาจากวงเงิน ดังนี้
– ขออนุมัติงบประมาณไม่เกิน 100,000 บาท (หนึ่งแสนบาท) คณบดีเป็นผู้ลงนามอนุมัติ
– ขออนุมัติงบประมาณมากกว่า 100,000 บาท (หนึ่งแสนบาท) เสนอต่อรองอธิการบดีเป็นผู้อนุมัติ
- ระยะเวลาการขออนุมัติโครงการ : ควรเผื่อระยะเวลาการดำเนินการทางเอกสาร และคำนึงถึงวันหยุดต่างๆ โดยควรเสนออนุมัติก่อนถึงวันกำหนดดำเนินโครงการไว้เนิ่นๆ การขออนุญาตดำเนินโครงการที่กระชั้นชิดเกินไปอาจทำให้ไม่สามารถดำเนินการโครงการได้ตามที่กำหนด ดังนั้นทุกการขออนุมัติ ควรสำรองเวลาสำหรับการเดินทางของเอกสารตามลำดับ ตลอดจนวันหยุดต่างๆ จึงควรวางแผนงานและสำรองเวลาไว้อย่างน้อย 3 สัปดาห์
- ขั้นตอนอื่นๆ เมื่อโครงการได้รับการอนุมัติ : การเผื่อเวลาในการดำเนินการเอกสารมีความสำคัญ เพราะเมื่ออนุมัติโครงการแล้วผู้รับผิดชอบโครงการจะต้องนำมาแนบสำหรับ
1. การขอนุมัติใช้รถยนต์ (ถ้ามี)
2. การขออนุญาตผู้ปกครอง (กรณีมีนักศึกษาร่วมโครงการ) - อาจารย์ที่ลงปฏิบัติงานในพื้นที่ : ถ้าในวันนั้นมีตารางสอนจะต้องยื่นเรื่องขอสอนชดเชยและได้รับอนุมัติจากรองอธิการบดีวิชาการไว้ก่อน ซึ่งหากมีการขอเบิกค่าตอบแทนในการปฏิบัติงานโครงการจะต้องแนบตารางสอนพร้อมทั้งเอกสารการขอสอนชดเชย กรณีที่ชั่วโมงมีสอน
- การเบิกค่าเบี้ยเลี้ยงและค่าพาหนะ : จะต้องทำคำสั่งเดินทางไปราชการ และได้รับอนุมัติเรียบร้อยแล้ว จึงจะสามารถเบิกค่าเบี้ยเลี้ยง และค่าพาหนะได้
- การใช้รถยนต์ส่วนตัว : จะต้องได้รับอนุญาตจากหัวหน้าส่วนราชการ (อธิการบดี หรือรองอธิการบดีที่ได้รับมอบหมาย) และจะต้องได้รับอนุมัติก่อนการเดินทาง โดยเบิกเหมาจ่าย ก.ม.ละ 4 บาท (ค่าทางด่วนไม่สามารถเบิกได้)
ขั้นตอนการเบิกจ่ายเงินงบประมาณโครงการยุทธศาสตร์
- การขอยืมเงินทดรองราชการ : แนบโครงการที่ได้รับการอนุมัติแล้วและแบบฟอร์มขอยืมเงินทดรองราชการอย่างน้อย 3 วันทำการ ทั้งนี้ควรนับ 3 วันทำการเมื่อเอกสารเสร็จเรียบร้อยแล้วจากหน่วยงานและเดินทางไปถึงยังหน่วยงานคลัง
- หน่วยงานคลังจ่ายเช็คเงินยืมในวันจันทร์ วันพุธ และวันศุกร์
- การขออนุมัติโครงการใช้แบบฟอร์มเสนอโครงการของมหาวิทยาลัย (ภาคผนวก) พร้อมบันทึกข้อความเสนออนุมัติตามลำดับ
- ผู้มีอำนาจอนุมัติโครงการ พิจารณาจากวงเงิน ดังนี้
– ขออนุมัติงบประมาณไม่เกิน 100,000 บาท (หนึ่งแสนบาท) คณบดีเป็นผู้ลงนามอนุมัติ
– ขออนุมัติงบประมาณมากกว่า 100,000 บาท (หนึ่งแสนบาท) เสนอต่อรองอธิการบดีเป็นผู้อนุมัติ
- ระยะเวลาการขออนุมัติโครงการ : ควรเผื่อระยะเวลาการดำเนินการทางเอกสาร และคำนึงถึงวันหยุดต่างๆ โดยควรเสนออนุมัติก่อนถึงวันกำหนดดำเนินโครงการไว้เนิ่นๆ การขออนุญาตดำเนินโครงการที่กระชั้นชิดเกินไปอาจทำให้ไม่สามารถดำเนินการโครงการได้ตามที่กำหนด ดังนั้นทุกการขออนุมัติ ควรสำรองเวลาสำหรับการเดินทางของเอกสารตามลำดับ ตลอดจนวันหยุดต่างๆ จึงควรวางแผนงานและสำรองเวลาไว้อย่างน้อย 3 สัปดาห์
- ขั้นตอนอื่นๆ เมื่อโครงการได้รับการอนุมัติ : การเผื่อเวลาในการดำเนินการเอกสารมีความสำคัญ เพราะเมื่ออนุมัติโครงการแล้วผู้รับผิดชอบโครงการจะต้องนำมาแนบสำหรับ
1. การขอนุมัติใช้รถยนต์ (ถ้ามี)
2. การขออนุญาตผู้ปกครอง (กรณีมีนักศึกษาร่วมโครงการ) - อาจารย์ที่ลงปฏิบัติงานในพื้นที่ : ถ้าในวันนั้นมีตารางสอนจะต้องยื่นเรื่องขอสอนชดเชยและได้รับอนุมัติจากรองอธิการบดีวิชาการไว้ก่อน ซึ่งหากมีการขอเบิกค่าตอบแทนในการปฏิบัติงานโครงการจะต้องแนบตารางสอนพร้อมทั้งเอกสารการขอสอนชดเชย กรณีที่ชั่วโมงมีสอน
- การเบิกค่าเบี้ยเลี้ยงและค่าพาหนะ : จะต้องทำคำสั่งเดินทางไปราชการ และได้รับอนุมัติเรียบร้อยแล้ว จึงจะสามารถเบิกค่าเบี้ยเลี้ยง และค่าพาหนะได้
- การใช้รถยนต์ส่วนตัว : จะต้องได้รับอนุญาตจากหัวหน้าส่วนราชการ (อธิการบดี หรือรองอธิการบดีที่ได้รับมอบหมาย) และจะต้องได้รับอนุมัติก่อนการเดินทาง โดยเบิกเหมาจ่าย ก.ม.ละ 4 บาท (ค่าทางด่วนไม่สามารถเบิกได้)
การขออนุมัติโครงการและข้อควรระวังในการดำเนินงานโครงการ
- การขอยืมเงินทดรองราชการ : แนบโครงการที่ได้รับการอนุมัติแล้วและแบบฟอร์มขอยืมเงินทดรองราชการอย่างน้อย 3 วันทำการ ทั้งนี้ควรนับ 3 วันทำการเมื่อเอกสารเสร็จเรียบร้อยแล้วจากหน่วยงานและเดินทางไปถึงยังหน่วยงานคลัง
- หน่วยงานคลังจ่ายเช็คเงินยืมในวันจันทร์ วันพุธ และวันศุกร์
- การขออนุมัติโครงการใช้แบบฟอร์มเสนอโครงการของมหาวิทยาลัย (ภาคผนวก) พร้อมบันทึกข้อความเสนออนุมัติตามลำดับ
- ผู้มีอำนาจอนุมัติโครงการ พิจารณาจากวงเงิน ดังนี้
– ขออนุมัติงบประมาณไม่เกิน 100,000 บาท (หนึ่งแสนบาท) คณบดีเป็นผู้ลงนามอนุมัติ
– ขออนุมัติงบประมาณมากกว่า 100,000 บาท (หนึ่งแสนบาท) เสนอต่อรองอธิการบดีเป็นผู้อนุมัติ
- ระยะเวลาการขออนุมัติโครงการ : ควรเผื่อระยะเวลาการดำเนินการทางเอกสาร และคำนึงถึงวันหยุดต่างๆ โดยควรเสนออนุมัติก่อนถึงวันกำหนดดำเนินโครงการไว้เนิ่นๆ การขออนุญาตดำเนินโครงการที่กระชั้นชิดเกินไปอาจทำให้ไม่สามารถดำเนินการโครงการได้ตามที่กำหนด ดังนั้นทุกการขออนุมัติ ควรสำรองเวลาสำหรับการเดินทางของเอกสารตามลำดับ ตลอดจนวันหยุดต่างๆ จึงควรวางแผนงานและสำรองเวลาไว้อย่างน้อย 3 สัปดาห์
- ขั้นตอนอื่นๆ เมื่อโครงการได้รับการอนุมัติ : การเผื่อเวลาในการดำเนินการเอกสารมีความสำคัญ เพราะเมื่ออนุมัติโครงการแล้วผู้รับผิดชอบโครงการจะต้องนำมาแนบสำหรับ
1. การขอนุมัติใช้รถยนต์ (ถ้ามี)
2. การขออนุญาตผู้ปกครอง (กรณีมีนักศึกษาร่วมโครงการ) - อาจารย์ที่ลงปฏิบัติงานในพื้นที่ : ถ้าในวันนั้นมีตารางสอนจะต้องยื่นเรื่องขอสอนชดเชยและได้รับอนุมัติจากรองอธิการบดีวิชาการไว้ก่อน ซึ่งหากมีการขอเบิกค่าตอบแทนในการปฏิบัติงานโครงการจะต้องแนบตารางสอนพร้อมทั้งเอกสารการขอสอนชดเชย กรณีที่ชั่วโมงมีสอน
- การเบิกค่าเบี้ยเลี้ยงและค่าพาหนะ : จะต้องทำคำสั่งเดินทางไปราชการ และได้รับอนุมัติเรียบร้อยแล้ว จึงจะสามารถเบิกค่าเบี้ยเลี้ยง และค่าพาหนะได้
- การใช้รถยนต์ส่วนตัว : จะต้องได้รับอนุญาตจากหัวหน้าส่วนราชการ (อธิการบดี หรือรองอธิการบดีที่ได้รับมอบหมาย) และจะต้องได้รับอนุมัติก่อนการเดินทาง โดยเบิกเหมาจ่าย ก.ม.ละ 4 บาท (ค่าทางด่วนไม่สามารถเบิกได้)
การจำแนกหมวดรายจ่ายสำหรับดำเนินกิจกรรมโครงการ
- การขอยืมเงินทดรองราชการ : แนบโครงการที่ได้รับการอนุมัติแล้วและแบบฟอร์มขอยืมเงินทดรองราชการอย่างน้อย 3 วันทำการ ทั้งนี้ควรนับ 3 วันทำการเมื่อเอกสารเสร็จเรียบร้อยแล้วจากหน่วยงานและเดินทางไปถึงยังหน่วยงานคลัง
- หน่วยงานคลังจ่ายเช็คเงินยืมในวันจันทร์ วันพุธ และวันศุกร์
- การขออนุมัติโครงการใช้แบบฟอร์มเสนอโครงการของมหาวิทยาลัย (ภาคผนวก) พร้อมบันทึกข้อความเสนออนุมัติตามลำดับ
- ผู้มีอำนาจอนุมัติโครงการ พิจารณาจากวงเงิน ดังนี้
– ขออนุมัติงบประมาณไม่เกิน 100,000 บาท (หนึ่งแสนบาท) คณบดีเป็นผู้ลงนามอนุมัติ
– ขออนุมัติงบประมาณมากกว่า 100,000 บาท (หนึ่งแสนบาท) เสนอต่อรองอธิการบดีเป็นผู้อนุมัติ
- ระยะเวลาการขออนุมัติโครงการ : ควรเผื่อระยะเวลาการดำเนินการทางเอกสาร และคำนึงถึงวันหยุดต่างๆ โดยควรเสนออนุมัติก่อนถึงวันกำหนดดำเนินโครงการไว้เนิ่นๆ การขออนุญาตดำเนินโครงการที่กระชั้นชิดเกินไปอาจทำให้ไม่สามารถดำเนินการโครงการได้ตามที่กำหนด ดังนั้นทุกการขออนุมัติ ควรสำรองเวลาสำหรับการเดินทางของเอกสารตามลำดับ ตลอดจนวันหยุดต่างๆ จึงควรวางแผนงานและสำรองเวลาไว้อย่างน้อย 3 สัปดาห์
- ขั้นตอนอื่นๆ เมื่อโครงการได้รับการอนุมัติ : การเผื่อเวลาในการดำเนินการเอกสารมีความสำคัญ เพราะเมื่ออนุมัติโครงการแล้วผู้รับผิดชอบโครงการจะต้องนำมาแนบสำหรับ
1. การขอนุมัติใช้รถยนต์ (ถ้ามี)
2. การขออนุญาตผู้ปกครอง (กรณีมีนักศึกษาร่วมโครงการ) - อาจารย์ที่ลงปฏิบัติงานในพื้นที่ : ถ้าในวันนั้นมีตารางสอนจะต้องยื่นเรื่องขอสอนชดเชยและได้รับอนุมัติจากรองอธิการบดีวิชาการไว้ก่อน ซึ่งหากมีการขอเบิกค่าตอบแทนในการปฏิบัติงานโครงการจะต้องแนบตารางสอนพร้อมทั้งเอกสารการขอสอนชดเชย กรณีที่ชั่วโมงมีสอน
- การเบิกค่าเบี้ยเลี้ยงและค่าพาหนะ : จะต้องทำคำสั่งเดินทางไปราชการ และได้รับอนุมัติเรียบร้อยแล้ว จึงจะสามารถเบิกค่าเบี้ยเลี้ยง และค่าพาหนะได้
- การใช้รถยนต์ส่วนตัว : จะต้องได้รับอนุญาตจากหัวหน้าส่วนราชการ (อธิการบดี หรือรองอธิการบดีที่ได้รับมอบหมาย) และจะต้องได้รับอนุมัติก่อนการเดินทาง โดยเบิกเหมาจ่าย ก.ม.ละ 4 บาท (ค่าทางด่วนไม่สามารถเบิกได้)
หมวดค่าตอบแทน
- การขอยืมเงินทดรองราชการ : แนบโครงการที่ได้รับการอนุมัติแล้วและแบบฟอร์มขอยืมเงินทดรองราชการอย่างน้อย 3 วันทำการ ทั้งนี้ควรนับ 3 วันทำการเมื่อเอกสารเสร็จเรียบร้อยแล้วจากหน่วยงานและเดินทางไปถึงยังหน่วยงานคลัง
- หน่วยงานคลังจ่ายเช็คเงินยืมในวันจันทร์ วันพุธ และวันศุกร์
- การขออนุมัติโครงการใช้แบบฟอร์มเสนอโครงการของมหาวิทยาลัย (ภาคผนวก) พร้อมบันทึกข้อความเสนออนุมัติตามลำดับ
- ผู้มีอำนาจอนุมัติโครงการ พิจารณาจากวงเงิน ดังนี้
– ขออนุมัติงบประมาณไม่เกิน 100,000 บาท (หนึ่งแสนบาท) คณบดีเป็นผู้ลงนามอนุมัติ
– ขออนุมัติงบประมาณมากกว่า 100,000 บาท (หนึ่งแสนบาท) เสนอต่อรองอธิการบดีเป็นผู้อนุมัติ
- ระยะเวลาการขออนุมัติโครงการ : ควรเผื่อระยะเวลาการดำเนินการทางเอกสาร และคำนึงถึงวันหยุดต่างๆ โดยควรเสนออนุมัติก่อนถึงวันกำหนดดำเนินโครงการไว้เนิ่นๆ การขออนุญาตดำเนินโครงการที่กระชั้นชิดเกินไปอาจทำให้ไม่สามารถดำเนินการโครงการได้ตามที่กำหนด ดังนั้นทุกการขออนุมัติ ควรสำรองเวลาสำหรับการเดินทางของเอกสารตามลำดับ ตลอดจนวันหยุดต่างๆ จึงควรวางแผนงานและสำรองเวลาไว้อย่างน้อย 3 สัปดาห์
- ขั้นตอนอื่นๆ เมื่อโครงการได้รับการอนุมัติ : การเผื่อเวลาในการดำเนินการเอกสารมีความสำคัญ เพราะเมื่ออนุมัติโครงการแล้วผู้รับผิดชอบโครงการจะต้องนำมาแนบสำหรับ
1. การขอนุมัติใช้รถยนต์ (ถ้ามี)
2. การขออนุญาตผู้ปกครอง (กรณีมีนักศึกษาร่วมโครงการ) - อาจารย์ที่ลงปฏิบัติงานในพื้นที่ : ถ้าในวันนั้นมีตารางสอนจะต้องยื่นเรื่องขอสอนชดเชยและได้รับอนุมัติจากรองอธิการบดีวิชาการไว้ก่อน ซึ่งหากมีการขอเบิกค่าตอบแทนในการปฏิบัติงานโครงการจะต้องแนบตารางสอนพร้อมทั้งเอกสารการขอสอนชดเชย กรณีที่ชั่วโมงมีสอน
- การเบิกค่าเบี้ยเลี้ยงและค่าพาหนะ : จะต้องทำคำสั่งเดินทางไปราชการ และได้รับอนุมัติเรียบร้อยแล้ว จึงจะสามารถเบิกค่าเบี้ยเลี้ยง และค่าพาหนะได้
- การใช้รถยนต์ส่วนตัว : จะต้องได้รับอนุญาตจากหัวหน้าส่วนราชการ (อธิการบดี หรือรองอธิการบดีที่ได้รับมอบหมาย) และจะต้องได้รับอนุมัติก่อนการเดินทาง โดยเบิกเหมาจ่าย ก.ม.ละ 4 บาท (ค่าทางด่วนไม่สามารถเบิกได้)
หมวดค่าใช้สอย
- การขอยืมเงินทดรองราชการ : แนบโครงการที่ได้รับการอนุมัติแล้วและแบบฟอร์มขอยืมเงินทดรองราชการอย่างน้อย 3 วันทำการ ทั้งนี้ควรนับ 3 วันทำการเมื่อเอกสารเสร็จเรียบร้อยแล้วจากหน่วยงานและเดินทางไปถึงยังหน่วยงานคลัง
- หน่วยงานคลังจ่ายเช็คเงินยืมในวันจันทร์ วันพุธ และวันศุกร์
- การขออนุมัติโครงการใช้แบบฟอร์มเสนอโครงการของมหาวิทยาลัย (ภาคผนวก) พร้อมบันทึกข้อความเสนออนุมัติตามลำดับ
- ผู้มีอำนาจอนุมัติโครงการ พิจารณาจากวงเงิน ดังนี้
– ขออนุมัติงบประมาณไม่เกิน 100,000 บาท (หนึ่งแสนบาท) คณบดีเป็นผู้ลงนามอนุมัติ
– ขออนุมัติงบประมาณมากกว่า 100,000 บาท (หนึ่งแสนบาท) เสนอต่อรองอธิการบดีเป็นผู้อนุมัติ
- ระยะเวลาการขออนุมัติโครงการ : ควรเผื่อระยะเวลาการดำเนินการทางเอกสาร และคำนึงถึงวันหยุดต่างๆ โดยควรเสนออนุมัติก่อนถึงวันกำหนดดำเนินโครงการไว้เนิ่นๆ การขออนุญาตดำเนินโครงการที่กระชั้นชิดเกินไปอาจทำให้ไม่สามารถดำเนินการโครงการได้ตามที่กำหนด ดังนั้นทุกการขออนุมัติ ควรสำรองเวลาสำหรับการเดินทางของเอกสารตามลำดับ ตลอดจนวันหยุดต่างๆ จึงควรวางแผนงานและสำรองเวลาไว้อย่างน้อย 3 สัปดาห์
- ขั้นตอนอื่นๆ เมื่อโครงการได้รับการอนุมัติ : การเผื่อเวลาในการดำเนินการเอกสารมีความสำคัญ เพราะเมื่ออนุมัติโครงการแล้วผู้รับผิดชอบโครงการจะต้องนำมาแนบสำหรับ
1. การขอนุมัติใช้รถยนต์ (ถ้ามี)
2. การขออนุญาตผู้ปกครอง (กรณีมีนักศึกษาร่วมโครงการ) - อาจารย์ที่ลงปฏิบัติงานในพื้นที่ : ถ้าในวันนั้นมีตารางสอนจะต้องยื่นเรื่องขอสอนชดเชยและได้รับอนุมัติจากรองอธิการบดีวิชาการไว้ก่อน ซึ่งหากมีการขอเบิกค่าตอบแทนในการปฏิบัติงานโครงการจะต้องแนบตารางสอนพร้อมทั้งเอกสารการขอสอนชดเชย กรณีที่ชั่วโมงมีสอน
- การเบิกค่าเบี้ยเลี้ยงและค่าพาหนะ : จะต้องทำคำสั่งเดินทางไปราชการ และได้รับอนุมัติเรียบร้อยแล้ว จึงจะสามารถเบิกค่าเบี้ยเลี้ยง และค่าพาหนะได้
- การใช้รถยนต์ส่วนตัว : จะต้องได้รับอนุญาตจากหัวหน้าส่วนราชการ (อธิการบดี หรือรองอธิการบดีที่ได้รับมอบหมาย) และจะต้องได้รับอนุมัติก่อนการเดินทาง โดยเบิกเหมาจ่าย ก.ม.ละ 4 บาท (ค่าทางด่วนไม่สามารถเบิกได้)
หมวดค่าวัสดุ
- การขอยืมเงินทดรองราชการ : แนบโครงการที่ได้รับการอนุมัติแล้วและแบบฟอร์มขอยืมเงินทดรองราชการอย่างน้อย 3 วันทำการ ทั้งนี้ควรนับ 3 วันทำการเมื่อเอกสารเสร็จเรียบร้อยแล้วจากหน่วยงานและเดินทางไปถึงยังหน่วยงานคลัง
- หน่วยงานคลังจ่ายเช็คเงินยืมในวันจันทร์ วันพุธ และวันศุกร์
- การขออนุมัติโครงการใช้แบบฟอร์มเสนอโครงการของมหาวิทยาลัย (ภาคผนวก) พร้อมบันทึกข้อความเสนออนุมัติตามลำดับ
- ผู้มีอำนาจอนุมัติโครงการ พิจารณาจากวงเงิน ดังนี้
– ขออนุมัติงบประมาณไม่เกิน 100,000 บาท (หนึ่งแสนบาท) คณบดีเป็นผู้ลงนามอนุมัติ
– ขออนุมัติงบประมาณมากกว่า 100,000 บาท (หนึ่งแสนบาท) เสนอต่อรองอธิการบดีเป็นผู้อนุมัติ
- ระยะเวลาการขออนุมัติโครงการ : ควรเผื่อระยะเวลาการดำเนินการทางเอกสาร และคำนึงถึงวันหยุดต่างๆ โดยควรเสนออนุมัติก่อนถึงวันกำหนดดำเนินโครงการไว้เนิ่นๆ การขออนุญาตดำเนินโครงการที่กระชั้นชิดเกินไปอาจทำให้ไม่สามารถดำเนินการโครงการได้ตามที่กำหนด ดังนั้นทุกการขออนุมัติ ควรสำรองเวลาสำหรับการเดินทางของเอกสารตามลำดับ ตลอดจนวันหยุดต่างๆ จึงควรวางแผนงานและสำรองเวลาไว้อย่างน้อย 3 สัปดาห์
- ขั้นตอนอื่นๆ เมื่อโครงการได้รับการอนุมัติ : การเผื่อเวลาในการดำเนินการเอกสารมีความสำคัญ เพราะเมื่ออนุมัติโครงการแล้วผู้รับผิดชอบโครงการจะต้องนำมาแนบสำหรับ
1. การขอนุมัติใช้รถยนต์ (ถ้ามี)
2. การขออนุญาตผู้ปกครอง (กรณีมีนักศึกษาร่วมโครงการ) - อาจารย์ที่ลงปฏิบัติงานในพื้นที่ : ถ้าในวันนั้นมีตารางสอนจะต้องยื่นเรื่องขอสอนชดเชยและได้รับอนุมัติจากรองอธิการบดีวิชาการไว้ก่อน ซึ่งหากมีการขอเบิกค่าตอบแทนในการปฏิบัติงานโครงการจะต้องแนบตารางสอนพร้อมทั้งเอกสารการขอสอนชดเชย กรณีที่ชั่วโมงมีสอน
- การเบิกค่าเบี้ยเลี้ยงและค่าพาหนะ : จะต้องทำคำสั่งเดินทางไปราชการ และได้รับอนุมัติเรียบร้อยแล้ว จึงจะสามารถเบิกค่าเบี้ยเลี้ยง และค่าพาหนะได้
- การใช้รถยนต์ส่วนตัว : จะต้องได้รับอนุญาตจากหัวหน้าส่วนราชการ (อธิการบดี หรือรองอธิการบดีที่ได้รับมอบหมาย) และจะต้องได้รับอนุมัติก่อนการเดินทาง โดยเบิกเหมาจ่าย ก.ม.ละ 4 บาท (ค่าทางด่วนไม่สามารถเบิกได้)
กฎหมาย ระเบียบ และหลักเกณฑ์
- คู่มือการบริหารงบประมาณ สำหรับผู้รับผิดชอบโครงการตามยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น
สำหรับข้อมูลที่ยังไม่ปรากฏ หากมีข้อสงสัยหรือข้อแนะนำที่เกี่ยวข้อง สามารถพิมพ์ผ่านเฟซบุ๊กด้านล่าง ดังที่ปรากฏ